หน่วยฝึกอบรม จป. (อบรม จป. หัวหน้างาน บริหาร เทคนิค) คณะกรรมการความปลอดภัยฯ (คปอ.) และหลักสูตรเสริมความปลอดภัย

บริษัท พี.พี.เอ็น.โปรเฟสชั่นแนล โอเปอร์เรเตอร์ เซอร์วิส จำกัดได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร ระดับเทคนิค คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ และหลักสูตรเสริมความปลอดภัย เพื่อประกอบธุรกิจจัดฝึกอบรม โดยให้ใช้เลขทะเบียนที่ จป.62-060 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึงวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2565

 

JP1 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน (12 ชม.) 

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP2 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวเทคนิค (18 ชม.) (ยังไม่เปิดให้บริการ)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP3 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร (12 ชม.) 

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP4 KYT เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP5 การจัดการสารเคมีเพื่อความปลอดภัย ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP6 ความปลอดภัยอาชีวอนามัยฯ สำหรับลูกจ้างทั่วไป และลูกจ้างใหม่ (6ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP7 การทำ 5 ส ในโรงงาน (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP8 คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ (12 ชม.) 

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP9 ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP10 เทคนิคการป้องกันอันตรายด้วยระบบล็อกและติดป้าย (Lockout Tagout) 6 ซม. (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

JP11 การปฏิบัติงานบนรถกระเช้าอย่างถูกวิธีและปลอดภัย (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

  •  

    Men at Work
JP12 หลักสูตร “ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง” (6 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

JP13 หลักสูตร “เทคนิคการติดตั้งและการตรวจสอบนั่งร้าน” (12 ชม.) (เฉพาะ in-house)

กำหนดการอบรม ลงทะเบียน

 

DOWNLOAD ตารางฝึกอบรม จป. และ คปอ. Public Training Course ประจำปี 2565

JP1 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน (12 ชม.) [Download]
JP2 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวเทคนิค (18 ชม.) [Download]
JP3 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร (12 ชม.) [Download]
JP4 KYT เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน [Download]
JP5 การจัดการสารเคมีเพื่อความปลอดภัย / ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี [Download]
JP6 ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานสำหรับลูกจ้างทั่วไป และลูกจ้างใหม่ (6 ชม.) [Download]
JP7 การทำ 5 ส ในโรงงาน [Download]
JP8 หลักสูตรคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ (12 ชม.)
JP12 หลักสูตร “ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง” (6 ชม.) [Download]
JP13 JP13 หลักสูตร “เทคนิคการติดตั้งและการตรวจสอบนั่งร้าน” (12 ชม.) [Download]
[Download]
1 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2549 [Download]
2 ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้าง ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2555 [Download]

อบรม จป หลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
(SAFETY OFFICER TRAINING PROGARM)

หลักการและเหตุผล

กฎกระทรวง การจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัย ในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565 ดังต่อไปนี้
1. การทำเหมืองแร่ เหมืองหิน กิจการปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี
2. การทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง ดัดแปลง แปรสภาพ ทำให้เสีย หรือทำลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สินรวมทั้งการต่อเรือ การให้กำเนิด แปลง และจ่ายไฟฟ้าหรือพลังงานอย่างอื่น
3. การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบำรุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบิน ทาง รถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือทางน้ำ ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพาน ท่อ ระบาย ท่อน้ำ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ รวมทั้งการเตรียมหรือ วางรากฐานของการก่อสร้าง
4. การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุกขน ถ่ายสินค้า
5. สถานีบริการหรือจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ
6. โรงแรม
7. ห้างสรรพสินค้า
8. สถานพยาบาล
9. สถาบันทางการเงิน
10. สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ
11. สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา
12. สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ
13. สำนักงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม (1) ถึง (12)
14. กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกำหนด

กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง ระดับวิชาชีพ ระดับบริหาร
คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน และหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารจัดการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
    2. เพื่อให้ลูกจ้างที่มีคุณสมบัติมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติหน้าที่ได้ตามที่กฎหมายกำหนดไว้

ประโยชน์หลักสูตรการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

  1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงหลักการควบคุมงานอย่างปลอดภัย
    2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงบทบาทและหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดและข้อปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้อง
    3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบถึงอันตรายและความสูญเสียจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนสามารถหามาตรการในการควบคุมและป้องกันได้
    4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถประเมินและค้นหาอันตรายจากการทำงานได้อย่างถูกต้อง
    5. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาในการ ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย

 

ตารางแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน คณะกรรมการความปลอดภัย และหน่วยงานความปลอดภัย

ประเภทกิจการ จำนวนลูกจ้าง(คน) จป.หัวหน้างาน จป.เทคนิค จป.เทคนิคขั้นสูง จป.วิชาชีพ จป.บริหาร คปอ. หน่วยงานความปลอดภัย
ประเภทที่
1
2 คน
ขึ้นไป
     
ประเภทที่
2-5
2-19 คน          
20-49 คน
(1ชม./1วัน)
       
50-99 คน      
100-199 คน      
200 คนขึ้นไป    
ประเภทที่
6-14
20 คนขึ้นไป          
50 คนขึ้นไป